บทความด้านจารึกและเอกสารโบราณในนิตยสารศิลปากร

rss

องค์ความรู้เกี่ยวกับเอกสารโบราณ

กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก สำนักหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร เป็นหน่วยงานหลักในการจัดเก็บ ดูแลอนุรักษ์ เอกสารโบราณที่มีอายุนับ ๑๐๐ ปีขึ้นไป ซึ่งเป็นมรดกภูมิปัญญาอันล้ำค่าของบรรพชนไทยที่ได้สร้างขึ้นเพื่อบันทึกข้อมูลวิทยาการสาขาต่างๆ เรื่องราวหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชาติไทยทั้งเป็นภาพสะท้อนให้เห็นอารยธรรม และศิลปวัฒนธรรมที่วิวัฒนาการสืบทอดมานับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งถือว่าเป็นแหล่งความรู้ที่สำคัญเกี่ยวกับเอกสารโบราณที่มีมากที่สุดในประเทศไทย

เกร็ดความรู้จากการตรวจสอบชำระประชุมพงศาวดาร : ปัญหาเรื่องศักราชและวันเดือนปีทางจันทรคติ

ศิรินันท์ บุญศิริ

จากการตรวจสอบชำระหนังสือชุดประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษกเล่ม 2 พระราชพงศาวดารกรุงสยามจากต้นฉบับของบริติชมิวเซียม กรุงลอนดอน และเล่ม 8 ปัญหาใหญ่ที่พบได้แก่ ปัญหาศักราชและวันเดือนปีซึ่งใช้เป็นวันเดือนปีทางจันทรคติ และใช้ศักราช เช่น มหาศักราช จุลศักราช รัตนโกสินศก แตกต่างจากปัจจุบันที่ใช้วันเดือนปีทางสุริยคติ และพุทธศักราชเป็นเหตุให้ต้องศึกษาค้นคว้าเรื่องวันเดือนปีทางจันทรคติและศักราช เป็นความรู้เพิ่มเติม

เกร็ดความรู้จากการตรวจสอบชำระประชุมพงศาวดาร : ประวัติศาสตร์จากพระราชพงศาวดารเหนือ

วีณา โรจนธารา

ในการตรวจสอบชำระและจัดพิมพ์เผยแพร่หนังสือชุดประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษกได้รวมเรื่องพระราชพงศาวดารเหนือไว้ในหนังสือประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1 พระราชพงศาวดารเหนือนี้โดยเนื้อหาและวิธีการรวบรวมเรียบเรียงแล้ว น่าจะจัดเป็นตำนานมากกว่าเพราะมีลักษณะเป็นเรื่องเล่า บางตอนคล้ายนิยายปรัมปราและเต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาร์ย เนื้อเรื่องเป็นเรื่องสั้น ๆ ไม่ต่อเนื่องกัน ทั้งชื่อและศักราชก็คลาดเคลื่อนจนยากที่จะลำดับเวลาได้เหมือนการบันทึกพงศาวดาร

เกร็ดความรู้จากการตรวจสอบชำระประชุมพงศาวดาร : นิมิตรที่ปรากฏในจดหมายเหตุโหร

พิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ

ตำราเรื่องการดูนิมิตรของคนไทยมิได้มีอยู่ในเฉพาะตำราดาราศาสตร์หรือโหราศาสตร์เพียงสองศาสตร์เท่านั้น หากแต่ถือเป็นเรื่องสำคัญที่บันทึกไว้ในตำราพิไชสงครามเพื่อให้แม่ทัพนายกองและชายไทยส่วนใหญ่เรียนรู้และสังเกตให้ละเอียดเพราะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับชีวิตและชัยชนะของบ้านเมือง โดยสรุปลักษณะนิมิตรได้ 5 ประเภทใหญ่ ๆ ทั้งที่เป็นนิมิตรส่วนตนเองและเป็นนิมิตรที่เกิดจากสภาพธรรมชาติ

กว่าจะมาเป็นพระราชวังเดิม

อรพินธุ์ การุณจิตต์

พระราชวังเดิมหรือทัพเรือในปัจจุบันตั้งอยู่ฝั่งธนบุรี บนถนนอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร โดยอยู่บนฝั่งซ้ายหรือทางด้านทิศตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณคลองบางกอกใหญ่ แต่เดิมเรียกว่า เมืองธนบุรีหรือเมืองบางกอก

โคลงเรือพระประทีป

ฉวีงาม มาเจริญ

"โคลงเรือพระประทีป" เป็นชื่อหนังสือเก่าหายากเกี่ยวกับพระราชพิธีในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ ผู้แต่งคือหลวงสารประเสริฐ (นุช) แต่งขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่ไม่ปรากฏปีพุทธศักราชว่าเมื่อใดแน่นอน เนื้อหาสาระของหนังสือเล่มนี้ได้รับการประเมินว่านอกจากจะให้ความรู้เกี่ยวกับจารีตประเพณีแล้ว ยังมีลักษณะประดุจจดหมายเหตุด้วย

Tags

คำว่า "ขอม" ในจารึกสุโขทัย อยุธยา และล้านนา ยางรัก ตู้พระธรรม จารึกเหรียญเงินอารข่าน arakan จารึกฐานพระพุทธรูปไม้ มป.12 ธรรมล้านนา บาลี จารึกฐานพระพุทธรูปนางคำ จารึกวัดชาวอ้ายดาบเรือน ไทยล้านนา ศิลาจารึก อักษรไทยฝักขาม วัดพระสิงห์ บ้านพังพวย อักษรขอมโบราณ จารึกฐานพระพุทธรูป ศรีชยสิงหวรมัน จารึกภูเขียว จารึกปราสาทกันต๊อบ ศิลาจารึกจังหวัดลำปาง จารึกสุโขทัย ศิลาจารึกหลักที่ 7 จารึก อักษรเชลียง จารึกภาษาไทย อักษรขอม อักษรไทยเหนือ วัดใต้เทิง จารึกบนหัวระฆังสัมฤทธิ์ ภาษามคธ วัดคงคาวดี วังสวนผักกาด วัดวิสุทธาราม จารึกบนแผ่นไม้กระดาน จารึกในพระธาตุพนม จารึกเมืองกำแพงเพชร จารึกเมืองอุบลราชธานี จารึกฐานพระพุทธรูปเสลามุจจลินท์ อักษรธรรมอีสาน จารึกแผ่นหินใบเสมา จารึกฐานพระพุทธรูปท่านเจ้าครูศรีวิลาส จารึกฐานพระพุทธรูปมหาราชครูธรรมคุตต์ วรรณกรรมสุภาษิต วรรณกรรมคำสอน วรรณกรรมสอนหญิง จารึกปราสาทตาเมือนธม 1 อักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต วรรณคดีสุภาษิต กฤษณาสอนน้อง พระเจ้าอยู่หัวบรมโกษฐ์ จารึกบ้านกู่จาน สิม พระพุทธรูปบุเงินจากถ้ำสาริกา รูปอักษรไทย พระมหากษัตริย์ วรรณกรรม ปราสาทเขาดุม วันสำคัญ ประวัติศาสตร์ ลำน้ำเจ้าพระยา แกงได วัดเจดีย์เหลี่ยมเวียงกุมกาม ตำราโค แผนโบราณ เขาน้อย บทนมัสการบนแผ่นอิฐสมัยทวารวดี ปราสาทเมืองแขก จังหวัดนครราชสีมา โคลงเรือพระประทีป ใบจุ้ม อาณาจักรล้านช้าง พระราชวังเดิม โบราณวัตถุ ภาษาบาลี อักษรไทย ธงพระคชาธาร ยันต์ ประชุมพงศาวดาร จดหมายเหตุโหร จมื่นก่งศิลป์ พงศาวดารเหนือ ศักราช วันเดือนปี จันทรคติ พระบรมธาตุนครชุม จารึกนครชุม การพิสูจน์ศิลาจารึก การอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน จารึก เย ธมฺมาฯ จารึกเหรียญเงินทวารวดี อักษรขโรษฐี สันสกฤต